messager
 
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว call ข้อมูลการติดต่อ (O4)

องค์การบริหารส่วนตำบล
หนองบัว
อำเภอนิคมน้ำอูน จังหวัดสกลนคร

ยินดีต้อนรับ เข้าสู่เว็บไซต์ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว อำเภอนิคมน้ำอูน จังหวัดสกลนคร
info_outline วิสัยทัศน์ พันธกิจ
วิสัยทัศน์
“พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ชุมชนประสานสามัคคี เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ศึกษาดีมีความรู้ ร่วมใจต่อสู้สิ่งเสพติด ส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณี"
ยุทธศาสตร์การพัฒนา พันธกิจการพัฒนา และแนวทางการพัฒนา
ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ๑) พันธกิจการพัฒนา ส่งเสริมการศึกษากีฬาและนันทนาการ สวัสดิการ คุณภาพชีวิตสตรี เด็ก คนชรา คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ติดเชื้อเอดส์ ผู้ยากจน และผู้ยากไร้ การป้องกันควบคุมโรค และการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยพัฒนาสถาบันครอบครัว พัฒนาศักยภาพของเด็กเยาวชน ชุมชน อาสาสมัคร และองค์กรเอกชน พัฒนาการประกอบอาชีพ ๒) เป้าประสงค์ ๒.๑ ประชาชนได้รับส่งเสริมการศึกษา กีฬา ๒.๒ ประชาชนได้รับสวัสดิการ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของสตรี เด็ก คนชรา คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ติดเชื้อเอดส์ ผู้ยากจน และผู้ยากไร้ ๒.๓ ประชาชนได้รับการป้องกันควบคุมโรค และการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย พัฒนาสถาบันครอบครัว ๒.๔ ประชาชนได้รับการพัฒนาศักยภาพในกลุ่มเด็กเยาวชน ชุมชน อาสาสมัคร และองค์กรเอกชน ๒.๕ ประชาชนได้รับการพัฒนาการประกอบอาชีพ ๓) แนวทางการพัฒนา ๓.๑ แนวทางการพัฒนาการศึกษา และสนับสนุนส่งเสริมการศึกษา ๓.๒ แนวทางการส่งเสริมกีฬาและนันทนาการ ๓.๓ แนวทางการสงเคราะห์ การส่งเสริมสวัสดิการ และการส่งเสริมคุณภาพชีวิตสตรี เด็ก คนชรา คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ติดเชื้อเอดส์ ผู้ยากจน และผู้ยากไร้ ๓.๔ แนวทางการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรคและการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย ๓.๕ แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาสถาบันครอบครัวเยาวชนชุมชน อาสาสมัคร และองค์กรเอกชน ๓.๖ แนวทางการส่งเสริมและการพัฒนาศักยภาพของเด็ก ๓.๗ แนวทางการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาการประกอบอาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยว ๑) พันธกิจ พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวของตำบลหนองบัว ซึ่งได้แก่ การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว การปรับปรุงหรือจัดให้มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และอนุรักษ์วัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น ๒) เป้าประสงค์ ๒.๑ เพื่อให้ศิลปะ ศาสนา วัฒนธรรม จารีตประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นได้รับการสืบทอด อนุรักษ์และฟื้นฟู ให้อยู่กับท้องถิ่นตลอดไป ๒.๒ เพื่อพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในชุมชนให้เป็นที่รู้ของของคนนอกพื้นที่ ๒.๓ เพื่อให้ประชาชนมีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ๓) แนวทางการพัฒนา ๓.๑ แนวทางการอนุรักษ์ ฟื้นฟูศิลปะ ศาสนา วัฒนธรรม จารีตประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น ๓.๒ แนวทางการยกระดับโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยว ๓.๓ แนวทางจัดให้มีและการบำรุงรักษาสถานที่ท่องเที่ยวสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและส่วนสาธารณะ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมการเกษตร ๑) พันธกิจ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการผลิตทางการเกษตรและปศุสัตว์ พัฒนาคุณภาพและรูปแบบผลิตภัณฑ์ พัฒนาตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ส่งเสริมการึกอบรมการประกอบอาชีพ ส่งเสริมการผลิตสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการจัดการด้านการตลาด ๒) เป้าประสงค์ ๒.๑ มีโครงสร้างพื้นฐานระบบการผลิตทางการเกษตรและปศุสัตว์ให้ทั่วถึง ๒.๒ มีการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบผลิตภัณฑ์ ๒.๓ มีการพัฒนาตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง ๒.๔ มีการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ๒.๕ มีการส่งเสริมการฝึกอบรมการประกอบอาชีพ ๒.๖ มีการส่งเสริมการผลิตสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ๒.๗ มีการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการจัดการด้านการตลาด ๓) แนวทางการพัฒนา ๓.๑ แนวทางการปรับโครงสร้างพื้นฐานระบบการผลิตทางการเกษตรและปศุสัตว์ ๓.๒ แนวทางการพัฒนาคุณภาพและรูปแบบผลิตภัณฑ์ ๓.๓ แนวทางการพัฒนาตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๔ แนวทางการส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ ๓.๕ แนวทางการส่งเสริมการฝึกอบรมการประกอบอาชีพ ๓.๖ แนวทางการส่งเสริมการผลิตสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ๓.๗ แนวทางส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพการจัดการด้านการตลาด ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี 1) พันธกิจ ก่อสร้างปรับปรุง บำรุงรักษาเส้นทางคมนาคม แหล่งน้ำ ระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน แก้ไขปัญหายาเสพติด การทุจริต คอรัปชั่น ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม พัฒนาองค์กรและบุคลากร จัดหาและพัฒนารายได้ พัฒนาท้องถิ่นร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาครัฐ ภาคเอกชน และหน่วยงานอื่น พัฒนาสนับสนุน ส่งเสริม และคุ้มครองผู้บริโภค 2) เป้าประสงค์ ๒.๑ ประชาชนมีระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการที่ดี ๒.๒ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ๒.๓ ประชาชนห่างไกลยาเสพติด ๒.๔ ประชาชนและบุคลกรของรัฐมีความซื่อสัตย์สุจริต ๒.๕ ประชาชนได้รับความช่วยเหลือในกรณีที่ประสบภัย ๒.๖ ประชาชนเข้าใจหลักการประชาธิปไตย ๒.๗ บุคลากรของ อบต.ได้รับการพัฒนาความรู้ ตามบทบาทหน้าที่ ๒.๘ อบต.มีการจัดเก็บรายได้เพิ่มขึ้น ๒.๙ พัฒนาท้องถิ่นร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาครัฐ ภาคเอกชน และ หน่วยงาน อื่น ๒.๑๐ ผู้บริโภคได้รับความเป็นธรรมในการบริโภคสินค้าและบริการ ๓) แนวทางการพัฒนา ๓.๑ แนวทางการก่อสร้างปรับปรุง บำรุงรักษาเส้นทางคมนาคม แหล่งน้ำ ระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ๓.๒ แนวทางการรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ๓.๓ แนวทางการพัฒนาบริการประชาชน ๓.๔ แนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติด การทุจริต คอรัปชั่น ๓.๕ แนวทางการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ๓.๖ แนวทางการส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม ๓.๗ แนวทาง การพัฒนาองค์กรและบุคลากร ๓.๘ แนวทาง การจัดหาและพัฒนารายได้ ๓.๙ แนวทางการพัฒนาท้องถิ่นร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาครัฐ ภาคเอกชน และ หน่วยงาน อื่น ๓.๑๐ แนวทางการพัฒนาสนับสนุน ส่งเสริม และคุ้มครองผู้บริโภค ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สมดุลและยั่งยืน 1)พันธกิจการพัฒนา อนุรักษ์ คุ้มครอง ป้องกัน ฟื้นฟู พื้นที่ป่า เพื่อการอนุรักษ์ ป่าชุมชน เชิงบูรณาการโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน กำจัด ลด ปริมาณขยะมูลฝอย ของเสีย และการนำกลับมาใช้ใหม่ 2)เป้าประสงค์ ๒.๑ อนุรักษ์ คุ้มครอง ป้องกัน ฟื้นฟู พื้นที่ป่า เพื่อการอนุรักษ์ ป่าชุมชน เชิงบูรณาการโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ๒.๒ ประชาชนกำจัดขยะอย่างถูกวิธี ๓) แนวทางการพัฒนา ๓.๑ แนวทางการพัฒนา การอนุรักษ์ คุ้มครอง ป้องกัน ฟื้นฟู พื้นที่ป่า เพื่อการอนุรักษ์ ป่าชุมชน เชิงบูรณาการโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ๓.๒ แนวทางการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการรวบรวม การกำจัด การลด ปริมาณขยะมูลฝอย ของเสีย และการนำกลับมาใช้ใหม่สิ่งแวดล้อมดีไม่มีมลพิษ ยกระดับคุณภาพชีวิตพร้อมเศรษฐกิจแบบพอเพียง”